สนธิ ลิ้มทองกุล เป็นคนไทยหรือไม่ น่าสงสัย
ในปี พ.ศ.2492 ขณะนั้นประเทศจีนได้เกิดการแบ่งฝ่ายออกเป็น 2 ฝ่าย คือฝ่ายประชาธิปไตยซึ่งเป็นรัฐบาลจีนขณะนั้น ภายใต้การนำของนายพล เจียงไคเช็ค พรรคก๊กมินตั๋ง และอีกฝ่ายหนึ่งก็คือฝ่ายคอมมิวนิสต์ ภายใต้การนำของ เหมาเจ๋อตง ทั้งสองฝ่ายต่างมีกำลังทหารของตนเองและสู้รบกันเพื่อแย่งชิงประชาชนและอำนาจการปกครองประเทศจีน ฝ่ายของนายพลเจียงไคเช็คมีกำลังทหารส่วนหนึ่งเรียกว่ากองพลหน่วยที่ 93 ได้ปฏิบัติการอยู่แถบคุนหมิง มณฑลยูนาน ทั้งสองฝ่ายต่างรบสู้กันอย่างดุเดือด และในที่สุดฝ่ายคอมมิวนิสต์ภายใต้การนำของเหมาเจ๋อตง ก็เป็นผู้ชนะพรรคก๊กมินตั๋งจึงได้ถอยหนีไปอยู่เกาะไต้หวัน และนายพลเจียงไคเช็คก็ได้เป็นประธานาธิบดีของไต้หวันในเวลาต่อมา
กองพลที่ 93 อพยพติดตามไปไต้หวันไม่ทัน หรือโดนเจียงไคเช็คทิ้งก็ไม่อาจทราบได้ จึงตั้งกองกำลังอยู่ที่ยูนาน จากนั้นก็ถูกกองทัพจีนคอมมิวนิสต์คุกคามอย่างหนักจึงต้องสู้ไปพลางถอยไปพลาง สุดท้ายก็ถอยไปเข้าเขตของพม่าตอนบนพม่าก็ไม่ยอมเพราะถือว่าเป็นการรุกล้ำอธิปไตยจึงส่งกำลังมาต่อสู้เพื่อพลักดันให้ออกจากพม่าสู้หลายครั้ง แม้ว่าพม่าจะเป็นฝ่ายรุก กองพล 93 เป็นฝ่ายถอย แต่สุดท้ายก็พลักดันออกจากพม่าไม่สำเร็จ เรื่องนี้เกี่ยวข้องกับไทยด้วย เพราะมีกองกำลังบางส่วนที่ถอยเข้ามาในเขตรอยต่อของไทยกับพม่า
เช่นบริเวณดอนตุง ดอยแม่สลอง เป็นต้น
ในที่สุดพม่าก็เรียกร้องให้สหประชาชาติเข้ามาแก้ไขปัญหาดังกล่าว สหประชาชาติได้เปิดประชุมและได้กำหนดตัวแทน 4 ฝ่าย เพื่อทำการอพยบทหารกองพล 93และครอบครัวไปที่ประเทศไต้หวัน สำหรับตัวแทนทั้ง 4 ฝ่าย ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ไทย พม่า และรัฐบาลจีนคณะชาติ ( ไต้หวัน ) สหประชาชาติได้ให้ทำการอพยบกองพล 93 ไปไต้หวัน โดยเริ่มตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 ถึง พฤษภาคม ค.ศ.2497 รวมทั้งสิ้น 3 ครั้ง โดยจำนวนผู้อพยพมีประมาณ 12,000 คนซึ่งการอพยพดังกล่าวรัฐบาลไต้หวันได้ส่งเครื่องบินมารับที่ อำเภอท่าฝาง จังหวัดเชียงใหม่ จากนั้นรัฐาลไต้หวันก็ไม่รับผู้อพยพเพิ่มอีก
ความเลวของพันธมิตร(ขออีกครั้ง)
« ตอบ #48 เมื่อ: 4 พ.ย. 08, 11:50 น »
สำหรับการอพยพของกองกำลังที่ 93 มาจากจีนนั้น ในเวลาเดียวกันก็มีชาวบ้านที่ไม่ได้เป็นกองทหารอพยบตามมาด้วย ทั้งนี้เพราะชาวบ้านเหล่านั้นไม่ต้องการอยู่ภายใต้การปกครองของจีนคอมมิวนิสต์และโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้นำทางทหารของกองพลที่ 93 คือ นายพลหลี่มี่เป็นที่นับถือของชาวบ้านในเป็นอย่างมาก ดังนั้นกองพล 93 จึงประกอบไปด้วยทหารของกองพลเอง ชาวบ้าน ชาวไร่ชาวนา และกองกำลังต่าง ๆ ที่กระจัดกระจายกันไปเพราะถูก คอมมิวนิสต์คุกคาม เข้ามารวมตัวอยู่ด้วยกัน เช่น นายพลหลี่เหวินฝาน ได้นำกองกำลังอาสาสมัครป้องกันหมู่บ้านเข้ามาร่วมกับนายพลหลี่มี่ด้วย การอพยพเข้ามาสู่ดินแดนประเทศไทยนั้น กระจายอยู่ตามแนวชายแดนต่าง ๆ คือ อำเภอแม่อาย อำเภอแม่จันอำเภอแม่สรวย อำเภอพาน (จังหวัดเชียงราย) อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่และเทือกเขาบางส่วนในเขตจังหวัดน่าน
ในช่วงที่ไต้หวันทำการอพยพชาวกองพลที่ 93 ไปสู่ประเทศไต้หวันนั้น ได้มีชาวไร่ชาวนาบางส่วนที่มากับพวกทหารของกองพลที่ 93 ไม่ได้อพยพไปด้วย กลับตั้งถิ่นฐานอยู่ที่เมืองไทย ทั้งนี้เพราะหลายคนมีครอบครัวที่นี่ หลายคนเกิดที่นี่ และคิดว่าตนเองแท้จริงไม่ได้เป็นทหารของกองพลที่ 93 การไปไต้หวันเหมือนกับเป็นส่วนเกินและต้องไปเริ่มต้นใหม่ และหลายคนรักที่จะอยู่ประเทศไทย
ช่วงนั้นได้มีขบวนการผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์เริ่มเข้ามาในประเทศไทย และชาวบ้านเหล่านี้ก็ไม่ชอบคอมมิวนิสต์ ประกอบกับได้รับการฝึกอบรมแบบทหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฝึกตามแบบของโรงเรียนนายร้อยหวังผู่ จึงมีความพร้อมที่จะทำการรบและป้องกันตนเอง รัฐบาลจอมพลถนอมในขณะนั้นได้ทำการติดต่อชาวบ้านเหล่านี้ให้อยู่ที่เมืองไทยเพื่อร่วมกันต่อต้านผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ซึ่งชาวบ้านส่วนใหญ่เห็นด้วย จึงปักหลักอยู่ต่อที่ประเทศไทย
รัฐบาลไทยได้ส่งเจ้าหน้าที่ไปเจรจากับไต้หวันเพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับชาวจีนอพยพที่ยังเหลืออยู่ในเมืองไทย รัฐบาลไต้หวันได้สรุปว่ากลุ่มชาวจีนดังกล่าวให้อยู่ภายใต้การดูแลของรัฐบาลไทย รัฐบาลไทยจึงได้สั่งให้กลุ่มชาวจีนที่อพยพอาศัยอยู่ในเขตจังหวัดเชียงใหม่ และ เชียงราย
เพื่อความสะดวกในการควบคุมผู้อพยพ รัฐบาลไทยจึงตั้งให้กองบัญชาการที่ดอยแม่สลอง กองบัญชาการทหารสูงสุดนำโดย พล.อ.อ. ทวี จุลละทรัพย์ เสธฯ บ.ก.ทหารสูงสุด และ พล.ท. เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ รองเสธฯ เป็นผู้ดูแล โดยประสานงานกับผู้ว่าราชการจังหวัด
มีผู้นำที่มีชื่ออยู่สองคน คือ นายพลหลี่เหวินฝาน และ พันเอกเฉินโหม่วซิว ได้เป็นผู้นำของชาวจีนที่เหลืออยู่ในเมืองไทย ขณะนั้นมีการแทรกซึมของคอมมิวนิสต์เป็นอย่างมาก และเนื่องจากคอมมิวนิสต์ไม่ถูกกับชาวจีนที่อพยพ จึงมักสร้างสถานการณ์ต่าง ๆ นา ๆเพื่อโยนความผิดให้กับชาวจีนกลุ่มนี้ เช่น ปล้นสะดม ฆ่าผู้นำชนกลุ่มน้อยเผ่าม้งที่จงรักภักดีต่อรัฐบาลไทย โดยคนทั่วไปในขณะนั้นรู้จักชาวจีนกลุ่มนี้ในนามของกองพลที่ 93 แต่แล้วคนไทยก็รู้ว่าหลงกลพวกคอมมิวนิสต์เมื่อมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น คือ
ภาพประกอบที่ 6---> http://i43.servimg.com/u/f43/12/93/89/37/koako110.jpg
หน่วยงานของจังหวัดได้รับการติดต่อขอเข้ามอบตัวจากกลุ่มผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ ที่บ้านห้วยกว้าง
ตำบลแซว อำเภอเชียงแสน ทำให้เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2512 นายประหยัด สมานมิตร ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย พร้อมด้วย พ.ต.อ. ศรีเดช ภูมิประหมัน ผู้กำกับตำรวจภูธรเชียงราย นายทหารจากกองทัพภาคที่3 และคณะ รวมทั้งสิ้น 8 นายได้เดินทางเพื่อเข้าไปต้อนรับการกลับตัวกลับใจของกลุ่มผู้ก่อการร้ายดังกล่าว การเดินทางไปครั้งนี้ผู้นำชาวจีนอพยพได้ทำการทักท้วงมิให้คณะของผู้ว่าเข้าไปในเขตของคอมมิวนิสต์ เพราะรู้ว่าเป็นกลลวงแต่ทางคณะไม่ฟังคำทักท้วงจึงได้เดินทางเข้าไปในบริเวณพื้นที่ที่ ผกค. ตกลงจะทำการมอบตัวแต่แล้วเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันก็เกิดขึ้น เจ้าหน้าที่ผู้ใหญ่ทั้งคณะถูก ผกค. สังหารเกือบหมดเหลือรอดมาได้แต่เพียงนายอำเภอเมืองเชียงรายเพียงคนเดียว เหตุการณ์ครั้งนี้ทำให้รัฐบาลไทยรู้ว่าคอมมิวนิสต์ร้ายแรงเพียงใด
เมื่อเรื่องนี้เกิดขึ้นทางกองบัญชาการทหารสูงสุดได้มีคำสั่งให้ชาวจีนอพยพที่เคยได้รับการฝึกแบบทหาร ออกช่วยปราบปรามโดยเข้าร่วมกับกองกำลังทหารและตำรวจ ซึงการปราบปรามผู้ก่อการร้ายใช้เวลายืดเยื้อ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 ไปจนถึง พ.ศ.2516 เหตุการณ์ผู้ก่อการร้ายจึงได้ปี พ.ศ. 2524 พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ได้ให้ชาวจีนอพยพจัดตั้งเป็นกองกำลังอาสาสมัครไทย จำนวน 4 กองร้อย ร่วมกับกองกำลังกองทัพภาคที่ 3 เพื่อออกกวาดล้างผู้ก่อการร้ายที่เขาค้อ และที่เขาหญ้า จังหวัดเพชรบูรณ์ ผลการกวาดล้างได้รับชัยชนะตามเป้าหมายที่รัฐบาลไทยกำหนด
ทางรัฐบาลไทยมองเห็นความสำคัญและผลงานที่ได้กระทำต่อบ้านเมืองของกลุ่มชาวจีนอพยพหรือที่รู้จักในนามของกองพล 93 กองบัญชาการทหารสูงสุดจึงตั้งคณะกรรมการเพื่อแปลงสัญชาติให้เป็นคนไทย ในพ.ศ. 2514 , 2518 , 2520 สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2521 โดยทางราชการจะออกบัตรประจำตัวชัวคราวให้กับนายทหารจีน(กองพล93) ใช้ในการออกจากเขตกำหนด(ดอยแม่สลอง) โดยใช้บัตร(ตามภาพ)แสดงแทนบัตรประชาชนไทย
ภาพประกอบที่ ๘---> http://i43.servimg.com/u/f43/12/93/89/37/card_910.jpg
หลังจากนั้นอีก 8 ปี จึงได้อนุมัติให้ทำบัตรประชาชนไทยถาวร แก่ชาวจีนอพยพ(กองพล93) เป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2529
โดยออกให้กับครอบครัวของนายทหารก่อน จากนั้นจึงออกให้ประชาชนจีนที่ติดตามกองทัพมานั้นเป็นลำดับไป
สำหรับบัตรประจำตัวนายทหารจีน(กองพล93) ที่ทางราชการออกให้ก่อนหน้านั้น(ตามภาพ) ทางราชการได้เรียกกลับคืน โดยเปลี่ยนกับบัตรประชาชนไทยถาวรในเวลาเดียวกันนั้น
ภาพประกอบที่ ๙---> http://i43.servimg.com/u/f43/12/93/89/37/santik10.jpg
เมื่อเสร็จสิ้นภารกิจ กองทัพภาคที่ 3 จึงได้มอบอำนาจการปกครองหมู่บ้านอดีตทหารจีน(กองพล93)บางหมู่บ้านให้กับกระทรวงมหาดไทย ตามนโยบายของรัฐบาล เช่น หมู่บ้านสันติคีรี ( ดอยแม่สลอง ) เป็นหมู่ที่ 18 ตำบลป่าซาง อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงรายโรงเรียนนายร้อยหว่างฟู่ ไม่ใช่มีแต่นักเรียนที่เป็นชาวจีนเท่านั้น แต่มีคนไทยเข้ารับการศึกษาด้วย(ตามภาพ เป็นคนไทยแท้ ๆ บ้านอยู่บางกอกน้อย ธนบุรี) จึงเป็นการสะดวกในสืบค้นข้อมูลกรณีของบิดานายสนธิ ลิ้มทองกุล
ดังนั้น เราสามารถที่จะพิจารณา วิเคราะห์จากหลักฐาน ข้างต้น จึงสามารถสรุปได้ดังนี้ ว่า
1. กรณีนายสนธิ ลิ้มทองกุล ที่อ้างว่าบิดาเป็นนายทหารกองร้อยหว่างฟู่ สังกัดกองพล93
จากรายงานพบว่า บิดาของนายสนธิ ได้ " หลบหนีจากกองพล93(หนีทหาร)" ก่อน พ.ศ.2514 ซึ่งเป็นระยะก่อนที่รัฐบาลไทย จะมีคำสั่งอนุญาตให้กองพล93 แปลงสัญชาติเป็นไทยได้ นั่นหมายถึง ซึ่งบิดาของนายสนธิ จึงเป็นเพียงคนจีนหลบหนีเข้าเมืองอย่างผิดกฏหมาย จึงไม่ได้รับสิทธิในการแปลงสัญชาติเป็นไทย เช่นบุคคลที่อยู่ในกองพล93 ตามคำสั่งของกองบัญชาการทหารสูงสุด (เพราะหนีทหารไปก่อนหน้านั้น จึงไม่ปรากฏหลักฐานการได้สัญชาติ เช่นผู้อื่นที่สังกัดกองพล93 ในระยะเวลาดังกล่าวโดยสิ้นเชิง)
ดังนั้น
2. เมื่อบิดาของนายสนธิ ไม่ได้สัญชาติไทย มีฐานะทางกฏหมายเป็นผู้กระทำความผิด ฐานเป็นคนต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง แต่เหตุใดนายสนธิ ซึ่งเป็นบุตร จึงมีสัญชาติไทยได้ ?3. ตามบัตรประชาชน ซึ่งหลักฐานปรากฏตามหมายจับ(ดูภาพในวงกลมสีแดง) ระบุว่า นายสนธิ " เชื้อชาติไทย" คำว่า " เชื้อชาติ " หมายถึง " ผู้ที่เกิดในประเทศ " แต่เมื่อพิจารณาแล้วจะเห็นว่า " นายสนธิ เกิดปี พ.ศ.2490 " ซึ่งเป็นระยะเวลาก่อนที่กองพล 93 จะรบกับกองทัพปลดแอกของเหมาเจอตุง และก่อนที่กองพล93 จะพ่ายแพ้และหลบหนีเข้ามายังเมืองเชียงตุงของพม่า และก่อนเวลาที่รัฐบาลไทยจะรับกองพล93 เข้ามาตั้งหมู่บ้านเป็นกันชนคอมมิวนิสต์
ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า " นายสนธิ ลิ้มทองกุล ไม่ใช่เชื้อชาติไทย " แน่นอน
4. ในระยะช่วงเวลาดังกล่าว (พ.ศ.2514-2520) ผู้ที่อยู่ฐานชายแดนแถบพม่า จะทราบดีว่าการเดินทางระหว่างเชียงราย มาลำปาง ก็กินเวลาเป็นวัน ๆ เพราะถนนไม่ดี(สายเอเซียยังไม่สร้าง...นั่งรถกันงี้ขี้เป็นเลือด..เรื่องจริง เพราะไม่มีเบาะมีแต่กระดานไม้) ไม่ต้องกล่าวถึงจังหวัดสุโขทัย ซึ่งอยู่ห่างไกลกับพื้นที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายซึ่งกองพล93อยู่(คิดในด้านดีไว้ก่อน) จึงมีคำถามว่า นายวิเชียร บิดาของนายสนธิ มามีภรรยาที่สุโขทัยได้อย่างไร ?
ฉะนั้น
เมื่อเทียบตามระยะเวลาจากบัตรประชาชนของนายสนธิ ลิ้มทองกุล กับ วันเวลาที่ทางราชการ อนุมัติให้ผู้ที่อยู่ในปกครองของกองพล93 แปลงสัญชาติได้นั้น(2514) นายสนธิ ลิ้มทองกุล จะบรรลุนิติภาวะแล้ว และมีอายุ 24 ปี
หากอนุมานว่าเป็นเช่นนั้น จุดที่เป็นสิ่งสังเกตุสำคัญคือ " จะเป็นได้เพียงแค่ สัญชาติไทย ไม่ใช่ เชื้อชาติไทย "
:::: ข้อพิรุธ ::::
นายสนธิ เกิดก่อนที่นายวิเชียรบิดาของตนซึ่งอยู่ที่เมืองจีน จะพบกับแม่ของตน ซึ่งอยู่ที่ประเทศไทยจังหวัดสุโขทัย(กรณีหากว่าแม่มีสัญชาติไทย) เพราะกองพล 93 เข้าประเทศไทยปี 2504 นั่นหมายถึงบิดาของนายสนธิ มาพบและแต่งงานกับมารดานายสนธิ จึงจะตั้งท้องและคลอดเป็นนายสนธิได้ ก็ต้องเป็นปี 2505 (ตามหลักฐานปรากฏว่าปี2504...นายสนธิอายุได้ 14 ปีแล้ว ...จึงเป็นไปไม่ได้ว่า นายสนธิ จะเกิดก่อนพ่อแม่แต่งงานกัน) ตกลง นายสนธิ เกิดจากใคร ...รูกระบอกไม้.. !!
ภาพ นายพลเจียงไคเชค เป็นผู้บังคับการโรงเรียนนายร้อยหว่างฟู่ (ไม่ใช่พ่อนายสนธิ)
_________________________
เมื่อคำนวณนับจากปีเกิดนายสนธิ (พ.ศ.2490) ก็ยังเป็นระยะเวลาก่อนที่เจียงไคเชค จะตั้งกองพล93 รบกับกองทัพเหมาเซตุง ซึ่งเป็น พ.ศ.2492 นั่นหมายถึง นายสนธิมีอายุได้ 2 ขวบแล้ว
...... คำถาม ณ เวลานี้คือ มารดาของนายสนธิ เป็นใคร ? นายสนธิ เกิดที่ไหน ? เมื่อไร ? และได้ " เชื้อชาติไทย" และ " สัญชาติไทย " มาได้อย่างไร ?
ในชั้นต้นสรุปได้ว่า เอกสารบัตรประจำตัวประชาชน เป็นของปลอมแน่นอน
ดังนั้น การเคลื่อนไหวทางการเมืองของนายสนธิ ลิ้มทองกุล ที่ปลุกระดมชาวไทยออกไปก่อการชุมนุม ยึด ทำลายทรัพย์สิน จนถึงขั้นใช้กำลังอาวุธปะทะกัน โดยอ้างว่า " กู้ชาติ " จึงเป็นไปไม่ได้
เพราะ นายสนธิ ลิ้มทองกุล ไม่ได้มีสัญชาติไทย หรือ เชื้อชาติไทย โดยสถานะทางกฏหมาย ปรากฏตามหลักฐานหมายจับ(ซึ่งเป็นเอกสารทางราชการ รับรองแล้ว)
นายสนธิ ลิ้มทองกุล ณ เวลาปัจจุบัน สถานะทางกฏหมาย เท่ากับเป็น " บุคคลไร้สัญชาติ "
.... การกระทำของนายสนธิ ลิ้มทองกุล จึงมีลักษณะไม่ผิดกับว่า " นายสนธิฯ เป็นนักท่องเที่ยว เข้ามาในประเทศไทย หรือ กะเหรี่ยงหลบหนีเข้าเมือง แล้วมาปลุกระดมให้ประชาชนเจ้าของประเทศเกิดความแตกแยกทางความคิด แบ่งฝ่ายใช้อาวุธเข้าประหัตประหารกัน โดยอ้างคำว่า " กู้ชาติ " ...!! เป็นเครื่องบังหน้าเพื่อก่อความไม่สงบขึ้นในบ้านเมืองเมื่อเทียบลักษณะความผิดที่ปรากฏทั้งหลักฐานและพยานเชิงประจักษ์แล้ว การกระทำของนายสนธิ ลิ้มทองกุล เข้าข่าย " จารชน " ซึ่งประชาชนไทยมีสิทธิ " ยิงทิ้ง " หรือ " จับตาย " ได้โดยไม่ผิดกฏหมาย (ตามระเบียบรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๑๗) ทั้งยังเป็นการช่วยทางราชการอีกด้วย
ในส่วนของเจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสงบเรียบร้อย หรือ เจ้าพนักงานตำรวจ สามารถจับกุมได้โดยไม่ต้องใช้หมายจับ โทษของ " จารชน " มีสถานเดียวคือ " ประหาร " โดยไม่ต้องขึ้นศาลอีกด้วย(เป็นกฏหมายสากล International Law )
:::: หมายเหตุ :::
ข้อมูลเชิงลึก ในกรณีอาชีพของบิดานายสนธิซึ่งหนีราชการทหาร แต่กลับมีเงินตั้งโรงพิมพ์(เขาเอาเงินมาจากไหน...ประกอบอาชีพอะไรจึงร่ำรวย และเหตุใดจึงถูกฆ่าล้างครัวที่กรุงเทพฯ) ที่เหลือ จะนำมาเสนอให้ทราบต่อไปในโอกาสหน้า..
No comments:
Post a Comment
Note: Only a member of this blog may post a comment.