สถาบันชั้นสูงในต่างประเทศแฉถึงกฏหมิ่น!!!!!
โดย : ป้าพลอย เมื่อวันที่ : ศุกร์ ที่ 23 เดือน มกราคม พ.ศ.2552
ทุกๆคนในประเทศไทยคงอยากจะทราบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับระบบกฏหมายหมิ่นต่อ
สถาบันเบื้องสูงในต่างประเทศว่าเขาออกกฏข้อบังคับเช่นในประเทศไทยหรือไม่?
สถาบันชั้นสูงเช่นในอังกฤษ สวีเดน เดนมารค์ เบลเยี่ยม เนเธอแลนด์ สเปนฯ
โมนาโค นอรเวย์ ยังไม่เคยอ่านข่าวพบว่าได้มีกฏหมายหมิ่นใช้ในประเทศที่กล่าวนามมานี้ในหน้า
หนังสือพิมพ์และแม็กกาซีนต่างๆ
เห็นพวกหนังสือพิมพ์เขียนล้อเลียนประกอบภาพเจ้าชายและเจ้าหญิงต่างประเทศทุกกิริยาบท
ไม่
เห็น มีการจับใครเข้าคุกหรือต้องคดีหมิ่นแม้แต่สักคนเดียว
ทั้งที่ประเทศอังกฤษที่เป็นแม่อย่างแต่ก็ไม่เห็นกฏหมายในประเทศอังกฤษห้าม
ไม่ไห้หมิ่นเชื้อพระวงค์เห็นหนังสือพิมพ์ในอังกฤษก็เขียนแฉเรื่องลูกชายของ
เจ้าหญิงไดน่าทั้งสองคนเดี๋ยวเรื่องนั้นเดี๋ยวเรื่องนี้เป็นประจำ
อีกทั้งเขียน เกี่ยวกับเจ้าชายชาร์และคามิลลาออกทุกสัปดาห์ทำไมเขา
จึงอิสระทั้งที่บางครั้งก็เขียนไปในทางเสี่อมเสียด้วยซ้ำแต่ทางอังกฤษไม่ออก
กฏหมาจับนักข่าวหรือต่อต้านประชาชนเรื่องหมิ่น? ฉะนั้น
ข่าวของนักเขียน ชาวออสเตรียเลียที่กำลังฮือฮาในขณะนี้ทำให้สถาบันชั้นสูงในต่างประเทศต่างงง
กับข้อหานี้ทำไมจึงวางกฏต่อผู้ที่แค่คำพูดถึงต้องลงโทษอย่างร้ายแรงกันขนาด
นี้ติดคุกล่ามด้วยโซ่เช่นนักโทษฆ่าคนตาย
ฉะนั้นคิดว่าองค์กรที่ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ที่ถูกรังแกนี้คงจะนิ่งเฉยไม่
ได้ อีกต่อไปตามที่ข่าวต่างประเทศได้ลงข่าวคงต้องตรวจเช็กให้ความเป็นธรรมเกี่ยว
กับเรื่องนี้เพราะในประเทศจีนก็มีเป็นจำนวนมากที่จับคนมาลงโทษอย่างไม่เป็น
ธรรม เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องเล็ก
น้อยในประเทศไทยเพราะสถาบันชั้นสูงในต่างประเทศได้เห็นการกระทำในประเทศไทยการเกินควรทั้งที่กฏระเบียบก็ไม่แตกต่างไปจากของต่างประเทศ
ฉะนั้นทำไมจึงไม่ผันผ่อนลดใน
สิ่ง ที่จะทำให้ประชาชนเดือดร้อนและกลายเป็นปัญหาให้แก่สถาบันเอง
หากปล่อยไปตามธรรมชาติผู้คนก็จะไม่มีใครสนใจเหมือนสถาบันชั้นสูงในต่าง
ประเทศหนังสือเขียนอย่างไรไม่
สดุ้งสะเทือนเดี๋ยวมันก็ล้าไปเอง
ยิ่งไปทำแคร์ไปเข้มงวดไปปิดไปปกผู้คนก็จะอยากรู้อยากเห็น
เพิ่มขึ้นเหมือนที่เคยเป็นข่าวมาแล้ว
ดังนั้นข่าวที่ออกมาเรื่องนักเขียนชาวออสเตรียเลียที่เป็นข่าว
ฮือ ฮานี้ได้ตีแสกหน้าระบบกฏหมายไทยเข้าอย่างแรง
และต่างก็ได้เห็นความลำเอียงของการเลือกปฏิบัติของผู้ที่กำกฏหมายอยู่ในมือ
เรื่องของผู้ก่อการร้ายพันธมิตรที่ยังไม่ได้จัดการแม้แต่น้อย
ตอนนี้ก็ได้ประจักต่อชาวโลกอย่างชัดๆว่าความยุติธรรมไม่มีอยู่ในประเทศสยาม
อีกต่อไป
เพราะศักดินาและอำมาตย์รวมทั้งพรรคการเมืองที่ห้อยก้นทำ
ความเสียหายให้สถาบันชั้นสูงของไทยที่ร่วมกันกดดันประชาชนให้ยอมจำนนโดยใช้
กฏหมิ่นบังคับเป็นเครื่องมือหาอำนาจใส่ตัว
โดยเอาประชาชนเป็นตัวประกัน ยัดเยียดข้อหาหมิ่นให้ตามที่นักข่าวได้สาธยาย
มันเป็นความจริงที่นักข่าวได้เขียนเพราะทุกอย่างมันออกมาเป็นรูปนี้ดังต่าง
ประเทศวิจารณ์ เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่า
เป็นเรื่องเท็จเพราะมันเป็น
เรื่องจริงในเมื่อคนที่อยู่ในประเทศไม่สามารถอ้าปากบอกใครได้เพราะกฏหมาย
หมิ่นที่ศักดินาและอำมาตย์ยัดข้อหาหมิ่นใส่ปากประชาชนทุกคนห้ามเปิดปาก
ห้ามเขียนสำหรับฝ่ายที่เป็นปรปักษ์ต่ออำมาตย์และศักดินา แต่สำหรับนายสนธิ
ลิ้มและพันธมิตร
ให้สิทธิ์พิเศษที่สามารถลบลู่ดูหมิ่นสารพัดที่ทำ
แต่ไม่มีใครออกมาต่อต้านคัดค้านหรือจับเข้าคุก
ขบวน การเผด็จการมองดูคนเหล่านี้ทำลายชาติทำลายชื่อเสียงประเทศไทยย่ำยีสถาบัน
ชั้นสูงของไทยให้เสื่อมเสียโดยใช้ภาพประจานไปทั่วในการก่อม๊อบที่ยึดสนามบิน
สุวรรณภูมิและดอนเมืองนี่คือความผิดอย่างมหันสำหรับคนที่ได้กระทำ
เพราะไม่ควรนำเอารูปผู้สูงศักดิ์เป็นที่เคารพของคนทั้งประเทศมา เปื้อนในสิ่งที่ตัวเองทำอย่างสกปรกและนี่คือตัวหมิ่นตัวสำคัญต่อสถาบันชั้น
สูงทีเป็นตัวจริงของจริงดังที่ต่างประเทศประนามฉะนั้นคนที่กระทำที่เห็นอยู่
โต้งๆชัดๆแต่กับไม่ลงโทษ
นี่คือความจริงที่ต่างประเทศทลายแฉออกมาสู่ชาวโลกให้ได้เห็นธาตุแท้ของกลุ่ม
เผด็จการที่กุมอำนาจกฏหมายไทยที่อยู่ในมือคนเหล่านี้ทั้งหมด....
ป้าพลอย
Saturday, January 24, 2009
เมื่ออดีตนายกทักษิณแฉ...เบื้องหลังโนโค่นอำนาจ
เมื่ออดีตนายกทักษิณแฉ...เบื้องหลังโนโค่นอำนาจ
โดย : ลูกชาวนาไทย เมื่อวันที่ : พฤหัสบดี ที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ.2552
สำนักข่าวต่างประเทศรายงานวันนี้ (22 ม.ค.) อ้าง หนังสือพิมพ์อาซาฮี
ของญี่ปุ่น เผยแพร่บทสัมภาษณ์ของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี
โดย นายโนจิ ชิบาตะ ผู้จัดการสาขาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
หนังสือพิมพ์อาซาฮี ตีพิมพ์เมื่อวันที่ 17 ม.ค. โดย พ.ต.ท.ทักษิณ
กล่าวว่า ประเด็นการไม่จ่ายภาษีการขายหุ้นของบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น
จำกัด (มหาชน) ไม่ใช่ประเด็นสำคัญที่ทำให้ตนเองตกอยู่ในสภาพลำบากเช่นนี้
เพราะเป็นเรื่องไม่ยากที่ตนจะจ่ายภาษี ตามกฎหมาย
แต่เรื่องนี้ส่งผลต่อฝ่ายต่อต้านตนในขณะนั้น
เนื่องจากมีขบวนการใต้ดินบางอย่างที่แปะป้าย "หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ"
ทำให้ตนรู้สึกเสียใจที่ตัดสินใจเล่นการเมือง อย่างไรก็ตาม เห็นว่า
สิ่งที่เกิดขึ้นอาจเป็นการลงโทษจากสิ่งที่ตนทำเมื่อชาติปางก่อน
ทำให้ตนต้องสูญเสียเงิน ทรัพย์สิน เพราะงานการเมืองเป็นสิ่งที่ต้องให้
"โดเรมอน" รับมือ ไม่ใช่ "โนบิตะ"
อดีต นายกรัฐมนตรี กล่าวต่อว่า ตนอายุจะครบ 60 ปี ในเดือนก.ค.นี้
จึงอยากจะใช้ชีวิตอย่างสงบ และหวังว่า
จะได้เห็นความสมานฉันท์อีกครั้งในหมู่คนไทย แต่
ยังไม่ได้รับข้อเสนออะไรจากรัฐบาล นายอภิสิทธิ์เวชชาชีวะ
นายกรัฐมนตรี หรือกลุ่มต่อต้าน "ระบอบทักษิณ "ว่า ต้องการจะเจรจา กับตน
อย่างไรก็ตาม ตนยังตายไม่ได้ก่อนที่จะได้พิสูจน์และได้รับความยุติธรรม
แต่เชื่อว่า กลุ่มผู้สนับสนุนตนจะสู้ต่อไปแม้ตนจะตายไปแล้ว
พ. ต.ททักษิณ กล่าวต่ออีกว่า รัฐบาลพรรค
ประชาธิปัตย์ได้อำนาจจากเสียงส่วนใหญ่ ด้วยการสนับสนุนจากกองทัพ
และประธานองคมนตรี ที่เรียกร้องให้ตนเลิกยุ่งกับการเมืองไทย
เพราะไม่มั่นใจว่าจะกุมอำนาจได้ ถ้าตนยังยุ่งเกี่ยวกับการเมือง แต่จริงๆ
แล้วกองทัพและประธานองคมนตรีนั่นแหละที่ต้องเลิกยุ่งกับการเมือง
เพราะขณะนี้ตนไม่มีเงินสนับสนุนพรรคเพื่อไทยตามที่ถูกกล่าวหาแต่อย่างใด
อดีต นายกรัฐมนตรี กล่าวด้วยว่า นายสนธิ ลิ้มทองกุล
แกนนำกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
เป็นหุ่นเชิดของกลุ่มพลังต่อต้านตน
ทั้งที่เคยเป็นผู้สนับสนุนสำคัญของตนเมื่อครั้งยังดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
โดยบอกว่าต้องการจะเป็นเจ้าของสถานีโทรทัศน์ แต่ตนตอบไปว่า
คงเป็นเรื่องยาก เพราะติดปัญหาทางกฎหมาย นี่คือเป็นเหตุผล ว่า
ทำไมนายสนธิจึงประกาศตัวเป็นศัตรูกับตนทันที นอกจากนี้
เป็นเรื่องผิดพลาดอย่างยิ่งที่ มอบตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกให้กับ
พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน อดีต ประธานคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.)
ผู้นำในการรัฐประหารในปี พ.ศ.2549 รวมทั้ง พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา
ผู้บัญชาการทหารบกคนปัจจุบันก็เป็นหุ่นเชิดเหมือนกับ พล.อ.สนธิ
จากไทยรัฐออนไลน์
โดย : ลูกชาวนาไทย เมื่อวันที่ : พฤหัสบดี ที่ 22 เดือน มกราคม พ.ศ.2552
สำนักข่าวต่างประเทศรายงานวันนี้ (22 ม.ค.) อ้าง หนังสือพิมพ์อาซาฮี
ของญี่ปุ่น เผยแพร่บทสัมภาษณ์ของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี
โดย นายโนจิ ชิบาตะ ผู้จัดการสาขาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
หนังสือพิมพ์อาซาฮี ตีพิมพ์เมื่อวันที่ 17 ม.ค. โดย พ.ต.ท.ทักษิณ
กล่าวว่า ประเด็นการไม่จ่ายภาษีการขายหุ้นของบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น
จำกัด (มหาชน) ไม่ใช่ประเด็นสำคัญที่ทำให้ตนเองตกอยู่ในสภาพลำบากเช่นนี้
เพราะเป็นเรื่องไม่ยากที่ตนจะจ่ายภาษี ตามกฎหมาย
แต่เรื่องนี้ส่งผลต่อฝ่ายต่อต้านตนในขณะนั้น
เนื่องจากมีขบวนการใต้ดินบางอย่างที่แปะป้าย "หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ"
ทำให้ตนรู้สึกเสียใจที่ตัดสินใจเล่นการเมือง อย่างไรก็ตาม เห็นว่า
สิ่งที่เกิดขึ้นอาจเป็นการลงโทษจากสิ่งที่ตนทำเมื่อชาติปางก่อน
ทำให้ตนต้องสูญเสียเงิน ทรัพย์สิน เพราะงานการเมืองเป็นสิ่งที่ต้องให้
"โดเรมอน" รับมือ ไม่ใช่ "โนบิตะ"
อดีต นายกรัฐมนตรี กล่าวต่อว่า ตนอายุจะครบ 60 ปี ในเดือนก.ค.นี้
จึงอยากจะใช้ชีวิตอย่างสงบ และหวังว่า
จะได้เห็นความสมานฉันท์อีกครั้งในหมู่คนไทย แต่
ยังไม่ได้รับข้อเสนออะไรจากรัฐบาล นายอภิสิทธิ์เวชชาชีวะ
นายกรัฐมนตรี หรือกลุ่มต่อต้าน "ระบอบทักษิณ "ว่า ต้องการจะเจรจา กับตน
อย่างไรก็ตาม ตนยังตายไม่ได้ก่อนที่จะได้พิสูจน์และได้รับความยุติธรรม
แต่เชื่อว่า กลุ่มผู้สนับสนุนตนจะสู้ต่อไปแม้ตนจะตายไปแล้ว
พ. ต.ททักษิณ กล่าวต่ออีกว่า รัฐบาลพรรค
ประชาธิปัตย์ได้อำนาจจากเสียงส่วนใหญ่ ด้วยการสนับสนุนจากกองทัพ
และประธานองคมนตรี ที่เรียกร้องให้ตนเลิกยุ่งกับการเมืองไทย
เพราะไม่มั่นใจว่าจะกุมอำนาจได้ ถ้าตนยังยุ่งเกี่ยวกับการเมือง แต่จริงๆ
แล้วกองทัพและประธานองคมนตรีนั่นแหละที่ต้องเลิกยุ่งกับการเมือง
เพราะขณะนี้ตนไม่มีเงินสนับสนุนพรรคเพื่อไทยตามที่ถูกกล่าวหาแต่อย่างใด
อดีต นายกรัฐมนตรี กล่าวด้วยว่า นายสนธิ ลิ้มทองกุล
แกนนำกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
เป็นหุ่นเชิดของกลุ่มพลังต่อต้านตน
ทั้งที่เคยเป็นผู้สนับสนุนสำคัญของตนเมื่อครั้งยังดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
โดยบอกว่าต้องการจะเป็นเจ้าของสถานีโทรทัศน์ แต่ตนตอบไปว่า
คงเป็นเรื่องยาก เพราะติดปัญหาทางกฎหมาย นี่คือเป็นเหตุผล ว่า
ทำไมนายสนธิจึงประกาศตัวเป็นศัตรูกับตนทันที นอกจากนี้
เป็นเรื่องผิดพลาดอย่างยิ่งที่ มอบตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกให้กับ
พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน อดีต ประธานคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.)
ผู้นำในการรัฐประหารในปี พ.ศ.2549 รวมทั้ง พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา
ผู้บัญชาการทหารบกคนปัจจุบันก็เป็นหุ่นเชิดเหมือนกับ พล.อ.สนธิ
จากไทยรัฐออนไลน์
Thursday, January 15, 2009
ความรู้เรื่องประชาธิปไตย เบื้องต้นที่ทุกคนควรรู้
ความรู้เรื่องประชาธิปไตย เบื้องต้นที่ทุกคนควรรู้
http://www.america.gov/st/democracy-english/2008/May/20080609194207eaifas0.8688013.html
06 May 2008
Overview: What is Democracy?
(The following one-pager is taken from the U.S. Department of State publication, Principles of Democracy.)
Democracy comes from the Greek word, “demos,” meaning people. In democracies, it is the people who hold sovereign power over legislator and government.
Although nuances apply to the world's various democracies, certain principles and practices distinguish democratic government from other forms of government.
• Democracy is government in which power and civic responsibility are exercised by all citizens, directly or through their freely elected representatives.
• Democracy is a set of principles and practices that protect human freedom; it is the institutionalization of freedom.
• Democracy rests upon the principles of majority rule, coupled with individual and minority rights. All democracies, while respecting the will of the majority, zealously protect the fundamental rights of individuals and minority groups.
• Democracies guard against all-powerful central governments and decentralize government to regional and local levels, understanding that local government must be as accessible and responsive to the people as possible.
• Democracies understand that one of their prime functions is to protect such basic human rights as freedom of speech and religion; the right to equal protection under law; and the opportunity to organize and participate fully in the political, economic, and cultural life of society.
• Democracies conduct regular free and fair elections open to all citizens. Elections in a democracy cannot be facades that dictators or a single party hide behind, but authentic competitions for the support of the people.
• Democracy subjects governments to the rule of law and ensures that all citizens receive equal protection under the law and that their rights are protected by the legal system.
• Democracies are diverse, reflecting each nation's unique political, social, and cultural life. Democracies rest upon fundamental principles, not uniform practices.
• Citizens in a democracy not only have rights, they have the responsibility to participate in the political system that, in turn, protects their rights and freedoms.
• Democratic societies are committed to the values of tolerance, cooperation, and compromise. Democracies recognize that reaching consensus requires compromise and that it may not always be attainable. In the words of Mahatma Gandhi, “intolerance is itself a form of violence and an obstacle to the growth of a true democratic spirit.”
Article translated in:
فارسی عربيMore Coverage
Book: Principles of Democracy
DEMOCRACY AROUND THE WORLD | Citizens with a voice
Tell us what you think about this article.
Bookmark with: Delicious Digg reddit Facebook StumbleUpon What's this? Home Foreign Policy U.S. Politics American Life Democracy Science & Health Publications Multimedia World Regions
This site delivers information about current U.S. foreign policy and about American life and culture
http://www.america.gov/st/democracy-english/2008/May/20080609194207eaifas0.8688013.html
06 May 2008
Overview: What is Democracy?
(The following one-pager is taken from the U.S. Department of State publication, Principles of Democracy.)
Democracy comes from the Greek word, “demos,” meaning people. In democracies, it is the people who hold sovereign power over legislator and government.
Although nuances apply to the world's various democracies, certain principles and practices distinguish democratic government from other forms of government.
• Democracy is government in which power and civic responsibility are exercised by all citizens, directly or through their freely elected representatives.
• Democracy is a set of principles and practices that protect human freedom; it is the institutionalization of freedom.
• Democracy rests upon the principles of majority rule, coupled with individual and minority rights. All democracies, while respecting the will of the majority, zealously protect the fundamental rights of individuals and minority groups.
• Democracies guard against all-powerful central governments and decentralize government to regional and local levels, understanding that local government must be as accessible and responsive to the people as possible.
• Democracies understand that one of their prime functions is to protect such basic human rights as freedom of speech and religion; the right to equal protection under law; and the opportunity to organize and participate fully in the political, economic, and cultural life of society.
• Democracies conduct regular free and fair elections open to all citizens. Elections in a democracy cannot be facades that dictators or a single party hide behind, but authentic competitions for the support of the people.
• Democracy subjects governments to the rule of law and ensures that all citizens receive equal protection under the law and that their rights are protected by the legal system.
• Democracies are diverse, reflecting each nation's unique political, social, and cultural life. Democracies rest upon fundamental principles, not uniform practices.
• Citizens in a democracy not only have rights, they have the responsibility to participate in the political system that, in turn, protects their rights and freedoms.
• Democratic societies are committed to the values of tolerance, cooperation, and compromise. Democracies recognize that reaching consensus requires compromise and that it may not always be attainable. In the words of Mahatma Gandhi, “intolerance is itself a form of violence and an obstacle to the growth of a true democratic spirit.”
Article translated in:
فارسی عربيMore Coverage
Book: Principles of Democracy
DEMOCRACY AROUND THE WORLD | Citizens with a voice
Tell us what you think about this article.
Bookmark with: Delicious Digg reddit Facebook StumbleUpon What's this? Home Foreign Policy U.S. Politics American Life Democracy Science & Health Publications Multimedia World Regions
This site delivers information about current U.S. foreign policy and about American life and culture
Thursday, January 8, 2009
ความเข้าใจผิดเรื่องสถาบัน
ความเข้าใจผิดเรื่องสถาบัน
-มีบุญคุณกับคนไทย เพราะทำให้ไทยเป็นเอกราช
ผู้ที่กอบกู้เอกราชของชาติไทยคือพระเจ้าตากสินมหาราช ต่อมาถูกพระยาจักรียึดอำนาจเมื่อ6เมษายน 2325 แล้วสถาปนาราชวงศ์จักรีมาจนถึงทุกวันนี้ และไทยเกือบเสียเอกราชอีกครั้งในสงครามโลกครั้งที่2 แต่นายปรีดี พนมยงค์ นำประเทศไทยรอดพ้นสภาพการตกเป็นเมืองขึ้นหรือประเทศที่แพ้สงคราม โดยจัดตั้งขบวนการเสรีไทยขึ้น ต่อมานายปรีดีถูกกลุ่มนิยมเจ้าใส่ความว่าเกี่ยวข้องกับร.8สวรรคต ต้องลี้ภัยไปถึงแก่อสัญกรรมในต่างประเทศ
-สถาบันมีบุญคุณต่อคนไทยอย่างใหญ่หลวง เพราะในหลวงมีโครงการพระราชดำริมากมายช่วยคนไทยให้พ้นความลำบากยากจน
โครงการพระราชดำริไม่ได้ใช้เงินส่วนพระองค์ แต่เป็นหน่วยงานราชการคือ สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ-กปร.
-ในหลวงเป็นแบบอย่างความสมถะพอเพียง คนไทยต้องเจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาท
สถาบันกษัตริย์ของไทยถูกนิตยสารForbesจัดอันดับให้เป็นสถาบันที่รวยที่สุดในโลก เหนือกว่าสุลต่านบรูไนและกษัตริย์ของอาหรับที่มีบ่อน้ำมัน ส่วนbloombergจัดให้ในหลวงเป็นนักลงทุนอันดับ1ในตลาดหุ้นไทย ในหลวงไม่ได้มีเฉพาะโตโยต้าโซลูน่าคันเล็กๆ แต่รวมถึงรถยนต์มายบั๊คคันละ300ล้านบาท และเครื่องบินอีกนับสิบลำ ซึ่งใช้เงินงบประมาณแผ่นดินจัดซื้อและจัดซ่อมบำรุง มีบุคคลต่างๆที่เป็นพ่อค้า เศรษฐี หน่วยงาน คณะบุคคลได้เข้าเฝ้าถวายเงินเพื่อใช้สอยตามพระราชอัธยาศัยเป็นประจำทุกวัน หากเป็นชาวบ้านธรรมดาๆ จะได้เฝ้าฯทุกวันอย่างนี้หรือไม่ เพราะไม่มีเงินมากมายไปถวาย
-สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เป็นของชาติ ไม่ใช่ของส่วนพระองค์ และจ่ายภาษี
กฎหมายระบุไว้ว่ารายได้จากทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ให้นำทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงใช้จ่ายในฐานที่ทรงเป็นประมุข รายได้ซึ่งได้หักรายจ่ายตามความในวรรคก่อนแล้ว จะจำหน่ายใช้สอยได้ก็แต่โดยพระมหากษัตริย์ ตามพระราชอัธยาศัย
-คนไทยต้องสำนึกในบุญคุณของในหลวงเพราะท่านทำเพื่อคนไทยอย่างไม่เห็นแก่เหนื่อยยาก
มีการจัดสรรงบประมาณปีละไม่น้อยกว่า2พันล้านบาท เฉพาะที่จัดสรรให้แก่สำนักพระราชวังนั้นปีงบประมาณล่าสุด2,364.6 ล้านบาท และยังไม่นับรวมกับที่อยู่ในหน่วยงานกระทรวง ทบวง กรม กองทัพต่างๆอีก ปีละไม่ต่ำกว่า6,000ล้าน
-สถาบันอยู่เหนือการเมือง จึงไม่ควรวิจารณ์ ต้องวิจารณ์พวกนักการเมืองโกงกินจึงจะถูก
ไทยยังเป็นระบอบราชาธิปไตย จากการที่ทรงมีพระราชอำนาจลงนามแต่งตั้งทั้งฝ่ายบริหาร นิติบัญญัติ ตุลาการ ผู้บริหารระดับสูงในกองทัพ และหน่วยงานต่างๆ บางครั้งมีหลักฐานว่าอาจเข้ามาแทรกแซงการเมือง เช่น กรณีรัฐประหารปี2500ของจอมพลสฤษดิ์,การสนับสนุนให้จอมพลถนอมกลับประเทศไทย และเกิดกรณี6ตุลาคม2519 หรือกรณีพระราชวงศ์ชั้นสูงไปงานศพของพันธมิตรเมื่อ13ตุลาคม2551 ในขณะเดียวกันเมื่อมีอำนาจในทางต่างๆ แต่เนื่องจากมีกฎหมายอาญาควบคุมไม่ให้เกิดการวิจารณ์ใดๆ จึงทำได้แต่เชิดชูด้านเดียวเท่านั้น-คนที่ไม่รักเทิดทูนสถาบันไม่สมควรอยู่เป็นคนไทย ต้องไล่ไปอยู่ประเทศอื่นให้หมดคนไทยต้องการให้ประเทศพัฒนาไปทัดเทียมกับนานาอารยะประเทศ ซึ่งมีความจำเป็นอยู่มากที่สถาบันควรปรับปรุงให้สอดคล้องกับกาลสมัย เพราะหากยังเป็นแบบที่เป็นมา มีจุดอ่อนอยู่หลายข้อ แต่ไม่ปรับปรุง แต่ให้เชิดชูสอพลออย่างเดียว ห้ามวิจารณ์ ในที่สุดก็จะทำให้สถาบันเป็นสิ่งที่พ้นสมัยไปใน
-มีบุญคุณกับคนไทย เพราะทำให้ไทยเป็นเอกราช
ผู้ที่กอบกู้เอกราชของชาติไทยคือพระเจ้าตากสินมหาราช ต่อมาถูกพระยาจักรียึดอำนาจเมื่อ6เมษายน 2325 แล้วสถาปนาราชวงศ์จักรีมาจนถึงทุกวันนี้ และไทยเกือบเสียเอกราชอีกครั้งในสงครามโลกครั้งที่2 แต่นายปรีดี พนมยงค์ นำประเทศไทยรอดพ้นสภาพการตกเป็นเมืองขึ้นหรือประเทศที่แพ้สงคราม โดยจัดตั้งขบวนการเสรีไทยขึ้น ต่อมานายปรีดีถูกกลุ่มนิยมเจ้าใส่ความว่าเกี่ยวข้องกับร.8สวรรคต ต้องลี้ภัยไปถึงแก่อสัญกรรมในต่างประเทศ
-สถาบันมีบุญคุณต่อคนไทยอย่างใหญ่หลวง เพราะในหลวงมีโครงการพระราชดำริมากมายช่วยคนไทยให้พ้นความลำบากยากจน
โครงการพระราชดำริไม่ได้ใช้เงินส่วนพระองค์ แต่เป็นหน่วยงานราชการคือ สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ-กปร.
-ในหลวงเป็นแบบอย่างความสมถะพอเพียง คนไทยต้องเจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาท
สถาบันกษัตริย์ของไทยถูกนิตยสารForbesจัดอันดับให้เป็นสถาบันที่รวยที่สุดในโลก เหนือกว่าสุลต่านบรูไนและกษัตริย์ของอาหรับที่มีบ่อน้ำมัน ส่วนbloombergจัดให้ในหลวงเป็นนักลงทุนอันดับ1ในตลาดหุ้นไทย ในหลวงไม่ได้มีเฉพาะโตโยต้าโซลูน่าคันเล็กๆ แต่รวมถึงรถยนต์มายบั๊คคันละ300ล้านบาท และเครื่องบินอีกนับสิบลำ ซึ่งใช้เงินงบประมาณแผ่นดินจัดซื้อและจัดซ่อมบำรุง มีบุคคลต่างๆที่เป็นพ่อค้า เศรษฐี หน่วยงาน คณะบุคคลได้เข้าเฝ้าถวายเงินเพื่อใช้สอยตามพระราชอัธยาศัยเป็นประจำทุกวัน หากเป็นชาวบ้านธรรมดาๆ จะได้เฝ้าฯทุกวันอย่างนี้หรือไม่ เพราะไม่มีเงินมากมายไปถวาย
-สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เป็นของชาติ ไม่ใช่ของส่วนพระองค์ และจ่ายภาษี
กฎหมายระบุไว้ว่ารายได้จากทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ให้นำทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงใช้จ่ายในฐานที่ทรงเป็นประมุข รายได้ซึ่งได้หักรายจ่ายตามความในวรรคก่อนแล้ว จะจำหน่ายใช้สอยได้ก็แต่โดยพระมหากษัตริย์ ตามพระราชอัธยาศัย
-คนไทยต้องสำนึกในบุญคุณของในหลวงเพราะท่านทำเพื่อคนไทยอย่างไม่เห็นแก่เหนื่อยยาก
มีการจัดสรรงบประมาณปีละไม่น้อยกว่า2พันล้านบาท เฉพาะที่จัดสรรให้แก่สำนักพระราชวังนั้นปีงบประมาณล่าสุด2,364.6 ล้านบาท และยังไม่นับรวมกับที่อยู่ในหน่วยงานกระทรวง ทบวง กรม กองทัพต่างๆอีก ปีละไม่ต่ำกว่า6,000ล้าน
-สถาบันอยู่เหนือการเมือง จึงไม่ควรวิจารณ์ ต้องวิจารณ์พวกนักการเมืองโกงกินจึงจะถูก
ไทยยังเป็นระบอบราชาธิปไตย จากการที่ทรงมีพระราชอำนาจลงนามแต่งตั้งทั้งฝ่ายบริหาร นิติบัญญัติ ตุลาการ ผู้บริหารระดับสูงในกองทัพ และหน่วยงานต่างๆ บางครั้งมีหลักฐานว่าอาจเข้ามาแทรกแซงการเมือง เช่น กรณีรัฐประหารปี2500ของจอมพลสฤษดิ์,การสนับสนุนให้จอมพลถนอมกลับประเทศไทย และเกิดกรณี6ตุลาคม2519 หรือกรณีพระราชวงศ์ชั้นสูงไปงานศพของพันธมิตรเมื่อ13ตุลาคม2551 ในขณะเดียวกันเมื่อมีอำนาจในทางต่างๆ แต่เนื่องจากมีกฎหมายอาญาควบคุมไม่ให้เกิดการวิจารณ์ใดๆ จึงทำได้แต่เชิดชูด้านเดียวเท่านั้น-คนที่ไม่รักเทิดทูนสถาบันไม่สมควรอยู่เป็นคนไทย ต้องไล่ไปอยู่ประเทศอื่นให้หมดคนไทยต้องการให้ประเทศพัฒนาไปทัดเทียมกับนานาอารยะประเทศ ซึ่งมีความจำเป็นอยู่มากที่สถาบันควรปรับปรุงให้สอดคล้องกับกาลสมัย เพราะหากยังเป็นแบบที่เป็นมา มีจุดอ่อนอยู่หลายข้อ แต่ไม่ปรับปรุง แต่ให้เชิดชูสอพลออย่างเดียว ห้ามวิจารณ์ ในที่สุดก็จะทำให้สถาบันเป็นสิ่งที่พ้นสมัยไปใน
รัฐบาลสี่เสาต่างตอบแทน
รัฐบาลสี่เสาต่างตอบแทน
โดย คุณ คณิน บุญสุวรรณ
ที่มา เวบไซต์ มติชน
6 มกราคม 2552
กว่าจะได้มาซึ่งรัฐบาลที่มีพรรคประชาธิปัตย์เป็นแกนนำ โดยมีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรีนั้น ประเทศไทย ต้องชดใช้ด้วยราคาการลงทุนที่แสนแพง
ถ้าเปรียบเป็นการค้า ก็เรียกว่า "ขาดทุนย่อยยับ" เลยทีเดียว ความสูญเสียที่ประเทศไทยต้องชดใช้ หรือแลกเพื่อให้ได้มาซึ่งการโหวตในสภา เพียงเพื่อให้นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรีนั้น มีมากมายหลายประการดังต่อไปนี้
1. สถาบันตุลาการ และสถาบันเบื้องสูง ถูกแอบอ้าง และดึงเข้ามาพัวพันกับการแย่งชิงอำนาจทางการเมืองและเปิดเผยที่สุด อย่างไม่เคยมีมาก่อน
2. องค์กรอิสระทำตัวเป็น "อำนาจที่สี่" ที่อยู่เหนือฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติ อย่างเห็นได้ชัด ทั้งยังไร้ความเป็นกลางโดยสิ้นเชิง
3. กองทัพถูกใช้เป็นเครื่องมือ ในการเล่นการเมือง และแย่งชิงอำนาจกันระหว่างสองขั้วการเมือง ซึ่งเป็นปรปักษ์ต่อกัน
4. ระบบพรรคการเมืองพังพินาศ ไม่เว้นแม้แต่พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งแตกร้าวอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ถึงแม้จะไม่ถูก "ยุบ" แบบเดียวกับพรรคพลังประชาชน แต่ก็ถูก "ยึด" ไปเรียบร้อยแล้ว
5. ร้อยละแปดสิบของสื่อมวลชน ทั้งวิทยุ โทรทัศน์ และหนังสือพิมพ์ เอียงกระเท่เร่ และเลือกข้างอำมาตยาธิปไตย อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน
6. เจตจำนงของประชาชน ที่ผ่านการเลือกตั้งทั่วไป ไร้ความหมายโดยสิ้นเชิง เพราะสามารถใช้อำนาจนอกระบบ บีบให้เปลี่ยนแปลงได้เสมอ
7. อนาธิปไตยไร้ขื่อแป กลายเป็นอาวุธที่ชอบธรรมในการแย่งชิง โค่นล้ม และทำลายล้างกันในทางการเมือง ขนาดยึดทำเนียบรัฐบาล ปิดกั้นเส้นทางเสด็จพระราชดำเนิน ปิดล้อมรัฐสภา ยึดสนามบินสุวรรณภูมิและดอนเมือง ยังทำเฉยกันอยู่ได้ เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น
8. หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนาที่ว่า "ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว" เสื่อมมนต์ขลัง และจะไม่มีใครเชื่อถือต่อไป เพราะเห็นอยู่แล้วว่า ทำชั่วได้ดีกันถ้วนหน้า
ด้วยปัจจัยประกอบหลายอย่างที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์ "งูเห่าภาคสอง" ขึ้นในระบบการเมืองของไทย จนประเทศไทยต้องสูญเสีย เพื่อชดใช้ราคาการลงทุนที่แสนแพงดังกล่าวข้างต้น จึงสมควร ที่จะวิเคราะห์ที่มาและองค์ประกอบสำคัญของรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เพื่อให้เห็นภาพชัดยิ่งขึ้น ซึ่งก็คงไม่มีวิธีใด ที่จะดีไปกว่า การอธิบายด้วยการล้อคำเปรียบเปรย พร้อมกับตั้งฉายาว่า เป็น "รัฐบาลสี่เสาต่างตอบแทน"
คำว่า "รัฐบาลสี่เสา" นั้น ไม่ได้หมายถึง "บ้านสี่เสา" ที่คนรู้จักกันทั้งบ้านทั้งเมือง หากแต่เป็นเสาทั้งสี่ ซึ่งได้แก่ สื่อ ศาล ทหาร ห้อย
สื่อ - คือ สื่อสารมวลชน
ศาล - คือ ศาลรัฐธรรมนูญ
ทหาร - คือ กองทัพและผู้บัญชาการเหล่าทัพ
ห้อย - คือ ส.ส.กลุ่มเพื่อนเนวิน
สื่อ คือ สื่อสารมวลชน ทั้งหนังสือพิมพ์และโทรทัศน์อีกหลายช่อง ซึ่งดูเหมือนจะเกรงอกเกรงใจกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย จนออกนอกหน้า สื่อสารมวลชนเหล่านี้ จะได้รับการตอบแทนอย่างอู้ฟู่แน่
ศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่ามีส่วนใช้อำนาจ "ล้มรัฐบาล" ที่เป็นฝ่ายตรงข้ามกับพันธมิตรและพรรคประชาธิปัตย์ ถึงสองครั้งสองครา ล้มรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช ไม่พอ ยังล้มรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ อีกด้วย และการล้มรัฐบาลครั้งล่าสุด เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2551 ก็นำมาซึ่งการเปลี่ยนขั้ว ทำให้รัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์เกิด
ดังนั้น จึงอาจได้รับการตอบแทนอย่างงามเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการไม่แก้รัฐธรรมนูญบทเฉพาะกาลมาตรา 299 มาตรา 301 และมาตรา 309 เพื่อลดวาระการดำรงตำแหน่ง และการยกเลิก "บทนิรโทษกรรมล่วงหน้า" ซึ่งเคยเป็นเป้าหมายของรัฐบาลพรรคพลังประชาชน ที่จะแก้ไข
ทหาร ปิดกันให้แซดว่า นายทหารสามคน ที่มีชื่อย่อขึ้นต้นด้วย ป.ปลา (ทั้งชื่อเล่นและชื่อจริง) เป็น "ตัวจริง" ในการจัดตั้งรัฐบาลครั้งนี้
ดังนั้น นายทหารท่านนั้น และ ผบ.ทบ. ก็จะได้รับการตอบแทนเช่นกัน ที่ตอบแทนไปแล้ว คือ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ หอบดอกกุหลาบสีแดงจากเนเธอร์แลนด์ช่อเบ้อเริ่ม พร้อมตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ใส่พานไปมอบให้ พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ ซึ่งเป็นนายทหารนอกราชการถึงบ้าน
และยังต้องตอบแทน พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา โดยคงจะต้องการันตีว่า จะได้อยู่เป็น ผบ.ทบ. ไปจนกว่าจะเกษียณ
นอกจากนั้น อานิสงส์ยังเผื่อแผ่ไปถึงน้องชาย พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ ด้วย เพราะทันทีที่ตั้งคณะรัฐมนตรีเสร็จ ก็มีคำสั่งย้าย พล.ต.อ.พัชรวาท วงษ์สุวรรณ กลับมาเป็น ผบ.ตร. อีกต่างหาก เรียกว่า ตอบแทนกันสุดลิ่มทิ่มประตูเลยทีเดียว
ห้อย คือ บุคคลแห่งปี ซึ่งเคยมีฉายาว่า "เข้าที่ไหนหัวหน้าตายหมด" และเคยก้าวเข้าสู่ทำเนียบปรัศนี "ใครเอ่ย?" ที่ "ชื่อพม่า หน้าลาว เว้าเขมร" ซึ่งตอนแรกได้นำเอา ส.ส. 37 คน ที่เคยอยู่พรรคพลังประชาชน แยกตัวไปสนับสนุน นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ถึงขนาด นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เอ่ยปากในที่ประชุมกรรมการบริหารพรรคว่า "เพราะเขา เราถึงจัดตั้งรัฐบาลได้"
เพราะฉะนั้น จึงได้รับการตอบแทนชนิดที่เรียกว่า "กินไปทั้งชาติก็ไม่หมด"โดยจะเห็นได้ จากการที่กลุ่มเพื่อนเนวินได้ตำแหน่งใหญ่สามตำแหน่งไปครอง คือ ตำแหน่งประธานสภาผู้แทนราษฎร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม แถมทั้งสองกระทรวง ยังมี ส.ส.ของกลุ่มเพื่อนเนวิน มาเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการอีกด้วย
สรุปแล้ว แม้กลุ่มเพื่อนเนวิน จะมีเสียงที่โหวตให้นายกรัฐมนตรีเหลือเพียง 27 เสียง แต่โควต้ารัฐมนตรี ก็ยังคงให้เท่าเดิม ตามที่ตกลงกันไว้ คือ 5 ตำแหน่ง จะเรียกว่าเป็น "หุ้นส่วนใหญ่" ของรัฐบาลอภิสิทธิ์ ก็คงไม่ผิดนัก
นอกจากสี่เสาที่รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ใช้เป็นเสลี่ยง หามเข้าสู่ตำแหน่ง และเป็นเสาค้ำรัฐบาล เหมือนเป็น "เปลือกหอย" ห่อหุ้มแล้ว ยังมี "พ่อทูนหัว" ที่รัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นายกรัฐมนตรีจะต้องเกรงอกเกรงใจ และทำทุกอย่างเพื่อไม่ให้ขัดใจด้วย คือ พันธมิตร
อย่างน้อยที่สุด ก็จะต้องไม่เอาเรื่องเอาราวกับพันธมิตร ทั้งกรณียึดทำเนียบรัฐบาล และยึดสนามบินสุวรรณภูมิ และสนามบินดอนเมือง อย่างมากที่สุด อาจถึงขั้นต้องแก้ไขรัฐธรรมนูญให้มีการเมืองใหม่ โดยการแก้ไขรัฐธรรมนูญให้สภาผู้แทนราษฎร เป็นแบบ 70 : 30 อย่างที่พันธมิตรต้องการ
นอกเหนือจากที่ได้ตอบแทนไปแล้ว คือ ยกตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ให้แกนนำคนหนึ่งของกลุ่มพันธมิตร ที่สามารถด่า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ผ่านทางเอเอสทีวีได้ถึงอกถึงใจพระเดชพระคุณ และไม่เอาเรื่องเอาราวกับ ส.ส. สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ ที่เป็นแกนนำพันธมิตร ยึดทำเนียบรัฐบาล และยึดสนามบินสุวรรณภูมิ และดอนเมือง
ทั้งหมดนี้ ถ้าไม่ให้เรียก "รัฐบาลสี่เสา" ต่างตอบแทนแล้ว จะให้เรียกว่าอย่างไร?
โดย คุณ คณิน บุญสุวรรณ
ที่มา เวบไซต์ มติชน
6 มกราคม 2552
กว่าจะได้มาซึ่งรัฐบาลที่มีพรรคประชาธิปัตย์เป็นแกนนำ โดยมีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรีนั้น ประเทศไทย ต้องชดใช้ด้วยราคาการลงทุนที่แสนแพง
ถ้าเปรียบเป็นการค้า ก็เรียกว่า "ขาดทุนย่อยยับ" เลยทีเดียว ความสูญเสียที่ประเทศไทยต้องชดใช้ หรือแลกเพื่อให้ได้มาซึ่งการโหวตในสภา เพียงเพื่อให้นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรีนั้น มีมากมายหลายประการดังต่อไปนี้
1. สถาบันตุลาการ และสถาบันเบื้องสูง ถูกแอบอ้าง และดึงเข้ามาพัวพันกับการแย่งชิงอำนาจทางการเมืองและเปิดเผยที่สุด อย่างไม่เคยมีมาก่อน
2. องค์กรอิสระทำตัวเป็น "อำนาจที่สี่" ที่อยู่เหนือฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติ อย่างเห็นได้ชัด ทั้งยังไร้ความเป็นกลางโดยสิ้นเชิง
3. กองทัพถูกใช้เป็นเครื่องมือ ในการเล่นการเมือง และแย่งชิงอำนาจกันระหว่างสองขั้วการเมือง ซึ่งเป็นปรปักษ์ต่อกัน
4. ระบบพรรคการเมืองพังพินาศ ไม่เว้นแม้แต่พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งแตกร้าวอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ถึงแม้จะไม่ถูก "ยุบ" แบบเดียวกับพรรคพลังประชาชน แต่ก็ถูก "ยึด" ไปเรียบร้อยแล้ว
5. ร้อยละแปดสิบของสื่อมวลชน ทั้งวิทยุ โทรทัศน์ และหนังสือพิมพ์ เอียงกระเท่เร่ และเลือกข้างอำมาตยาธิปไตย อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน
6. เจตจำนงของประชาชน ที่ผ่านการเลือกตั้งทั่วไป ไร้ความหมายโดยสิ้นเชิง เพราะสามารถใช้อำนาจนอกระบบ บีบให้เปลี่ยนแปลงได้เสมอ
7. อนาธิปไตยไร้ขื่อแป กลายเป็นอาวุธที่ชอบธรรมในการแย่งชิง โค่นล้ม และทำลายล้างกันในทางการเมือง ขนาดยึดทำเนียบรัฐบาล ปิดกั้นเส้นทางเสด็จพระราชดำเนิน ปิดล้อมรัฐสภา ยึดสนามบินสุวรรณภูมิและดอนเมือง ยังทำเฉยกันอยู่ได้ เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น
8. หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนาที่ว่า "ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว" เสื่อมมนต์ขลัง และจะไม่มีใครเชื่อถือต่อไป เพราะเห็นอยู่แล้วว่า ทำชั่วได้ดีกันถ้วนหน้า
ด้วยปัจจัยประกอบหลายอย่างที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์ "งูเห่าภาคสอง" ขึ้นในระบบการเมืองของไทย จนประเทศไทยต้องสูญเสีย เพื่อชดใช้ราคาการลงทุนที่แสนแพงดังกล่าวข้างต้น จึงสมควร ที่จะวิเคราะห์ที่มาและองค์ประกอบสำคัญของรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เพื่อให้เห็นภาพชัดยิ่งขึ้น ซึ่งก็คงไม่มีวิธีใด ที่จะดีไปกว่า การอธิบายด้วยการล้อคำเปรียบเปรย พร้อมกับตั้งฉายาว่า เป็น "รัฐบาลสี่เสาต่างตอบแทน"
คำว่า "รัฐบาลสี่เสา" นั้น ไม่ได้หมายถึง "บ้านสี่เสา" ที่คนรู้จักกันทั้งบ้านทั้งเมือง หากแต่เป็นเสาทั้งสี่ ซึ่งได้แก่ สื่อ ศาล ทหาร ห้อย
สื่อ - คือ สื่อสารมวลชน
ศาล - คือ ศาลรัฐธรรมนูญ
ทหาร - คือ กองทัพและผู้บัญชาการเหล่าทัพ
ห้อย - คือ ส.ส.กลุ่มเพื่อนเนวิน
สื่อ คือ สื่อสารมวลชน ทั้งหนังสือพิมพ์และโทรทัศน์อีกหลายช่อง ซึ่งดูเหมือนจะเกรงอกเกรงใจกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย จนออกนอกหน้า สื่อสารมวลชนเหล่านี้ จะได้รับการตอบแทนอย่างอู้ฟู่แน่
ศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่ามีส่วนใช้อำนาจ "ล้มรัฐบาล" ที่เป็นฝ่ายตรงข้ามกับพันธมิตรและพรรคประชาธิปัตย์ ถึงสองครั้งสองครา ล้มรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช ไม่พอ ยังล้มรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ อีกด้วย และการล้มรัฐบาลครั้งล่าสุด เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2551 ก็นำมาซึ่งการเปลี่ยนขั้ว ทำให้รัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์เกิด
ดังนั้น จึงอาจได้รับการตอบแทนอย่างงามเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการไม่แก้รัฐธรรมนูญบทเฉพาะกาลมาตรา 299 มาตรา 301 และมาตรา 309 เพื่อลดวาระการดำรงตำแหน่ง และการยกเลิก "บทนิรโทษกรรมล่วงหน้า" ซึ่งเคยเป็นเป้าหมายของรัฐบาลพรรคพลังประชาชน ที่จะแก้ไข
ทหาร ปิดกันให้แซดว่า นายทหารสามคน ที่มีชื่อย่อขึ้นต้นด้วย ป.ปลา (ทั้งชื่อเล่นและชื่อจริง) เป็น "ตัวจริง" ในการจัดตั้งรัฐบาลครั้งนี้
ดังนั้น นายทหารท่านนั้น และ ผบ.ทบ. ก็จะได้รับการตอบแทนเช่นกัน ที่ตอบแทนไปแล้ว คือ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ หอบดอกกุหลาบสีแดงจากเนเธอร์แลนด์ช่อเบ้อเริ่ม พร้อมตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ใส่พานไปมอบให้ พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ ซึ่งเป็นนายทหารนอกราชการถึงบ้าน
และยังต้องตอบแทน พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา โดยคงจะต้องการันตีว่า จะได้อยู่เป็น ผบ.ทบ. ไปจนกว่าจะเกษียณ
นอกจากนั้น อานิสงส์ยังเผื่อแผ่ไปถึงน้องชาย พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ ด้วย เพราะทันทีที่ตั้งคณะรัฐมนตรีเสร็จ ก็มีคำสั่งย้าย พล.ต.อ.พัชรวาท วงษ์สุวรรณ กลับมาเป็น ผบ.ตร. อีกต่างหาก เรียกว่า ตอบแทนกันสุดลิ่มทิ่มประตูเลยทีเดียว
ห้อย คือ บุคคลแห่งปี ซึ่งเคยมีฉายาว่า "เข้าที่ไหนหัวหน้าตายหมด" และเคยก้าวเข้าสู่ทำเนียบปรัศนี "ใครเอ่ย?" ที่ "ชื่อพม่า หน้าลาว เว้าเขมร" ซึ่งตอนแรกได้นำเอา ส.ส. 37 คน ที่เคยอยู่พรรคพลังประชาชน แยกตัวไปสนับสนุน นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ถึงขนาด นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เอ่ยปากในที่ประชุมกรรมการบริหารพรรคว่า "เพราะเขา เราถึงจัดตั้งรัฐบาลได้"
เพราะฉะนั้น จึงได้รับการตอบแทนชนิดที่เรียกว่า "กินไปทั้งชาติก็ไม่หมด"โดยจะเห็นได้ จากการที่กลุ่มเพื่อนเนวินได้ตำแหน่งใหญ่สามตำแหน่งไปครอง คือ ตำแหน่งประธานสภาผู้แทนราษฎร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม แถมทั้งสองกระทรวง ยังมี ส.ส.ของกลุ่มเพื่อนเนวิน มาเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการอีกด้วย
สรุปแล้ว แม้กลุ่มเพื่อนเนวิน จะมีเสียงที่โหวตให้นายกรัฐมนตรีเหลือเพียง 27 เสียง แต่โควต้ารัฐมนตรี ก็ยังคงให้เท่าเดิม ตามที่ตกลงกันไว้ คือ 5 ตำแหน่ง จะเรียกว่าเป็น "หุ้นส่วนใหญ่" ของรัฐบาลอภิสิทธิ์ ก็คงไม่ผิดนัก
นอกจากสี่เสาที่รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ใช้เป็นเสลี่ยง หามเข้าสู่ตำแหน่ง และเป็นเสาค้ำรัฐบาล เหมือนเป็น "เปลือกหอย" ห่อหุ้มแล้ว ยังมี "พ่อทูนหัว" ที่รัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นายกรัฐมนตรีจะต้องเกรงอกเกรงใจ และทำทุกอย่างเพื่อไม่ให้ขัดใจด้วย คือ พันธมิตร
อย่างน้อยที่สุด ก็จะต้องไม่เอาเรื่องเอาราวกับพันธมิตร ทั้งกรณียึดทำเนียบรัฐบาล และยึดสนามบินสุวรรณภูมิ และสนามบินดอนเมือง อย่างมากที่สุด อาจถึงขั้นต้องแก้ไขรัฐธรรมนูญให้มีการเมืองใหม่ โดยการแก้ไขรัฐธรรมนูญให้สภาผู้แทนราษฎร เป็นแบบ 70 : 30 อย่างที่พันธมิตรต้องการ
นอกเหนือจากที่ได้ตอบแทนไปแล้ว คือ ยกตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ให้แกนนำคนหนึ่งของกลุ่มพันธมิตร ที่สามารถด่า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ผ่านทางเอเอสทีวีได้ถึงอกถึงใจพระเดชพระคุณ และไม่เอาเรื่องเอาราวกับ ส.ส. สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ ที่เป็นแกนนำพันธมิตร ยึดทำเนียบรัฐบาล และยึดสนามบินสุวรรณภูมิ และดอนเมือง
ทั้งหมดนี้ ถ้าไม่ให้เรียก "รัฐบาลสี่เสา" ต่างตอบแทนแล้ว จะให้เรียกว่าอย่างไร?
Subscribe to:
Posts (Atom)